http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 ได้กล่าวว่าอาจเรียกว่า การทบทวนวรรณกรรม ส่วนนี้เป็นการเขียนถึงสิ่งที่ผู้วิจัยได้มาจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของผู้วิจัย รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการดำเนินการศึกษาร่วมไปกับผู้วิจัยด้วย โดยจัดลำดับหัวข้อหรือเนื้อเรื่องที่เขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแต่ละหัวข้อเนื้อเรื่องก็จัดเรียงตามลำดับเวลาด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นพัฒนาการต่างๆ ที่เกี่ยวกับปัญหา นอกจากนี้ผู้วิจัยควรจะต้องมีการสรุปไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ทั้งส่วนที่สอดคล้องกัน ขัดแย้งกัน และส่วนที่ยังไม่ได้ศึกษาทั้งในแง่ประเด็น เวลา สถานที่ วิธีการศึกษาฯลฯ การเขียนส่วนนี้ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการตั้งสมมติฐานด้วย
หลังจากที่ผู้วิจัยได้เขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้ว ควรมีการประเมินงานเขียนเรียบเรียงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ว่ามีความสมบูรณ์ทั้งเนื้อหา ภาษา และความต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน สำหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Polit & Hungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร, 2538 ) ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญไว้ โดยการให้ตอบคำถามต่อไปนี้
1 รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับปัญหาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งศึกษามาก่อนแล้ว หรือไม่
1.1 รายงานนั้นได้เรียบเรียงจากแหล่งเอกสารทุติยภูมิมากเกินไปหรือไม่ ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วควรใช้แหล่งเอกสารปฐมภูมิ (ต้นฉบับ) ให้มากที่สุด
1.2 รายงานได้ครอบคลุมเอกสาร ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาครบหมดหรือไม่
1.3 รายงานได้ครอบคลุมเอกสารใหม่ๆหรือไม่
1.4 รายงานได้เน้นในเรื่องความคิดเห็น หรือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรม มากเกินไป และมีการเน้นผลการวิจัยด้านปฏิบัติจริงๆ น้อยไปหรือไม่
1.5 รายงานได้เรียบเรียงข้อความอย่างต่อเนื่องสมบูรณ์หรือไม่ หรือเป็นเพียงแต่ลอก ข้อความจากเอกสารต้นฉบับมาเรียงต่อกันเท่านั้น
1.6 รายงานนั้นเป็นแต่เพียงสรุปผลการศึกษาที่ทำมาแล้วเท่านั้น หรือเป็นการเขียนใน เชิงวิเคราะห์วิจารณ์ และเปรียบเทียบกับผลงานเด่นๆ ที่ศึกษามาแล้วหรือไม่
1.7 รายงานได้เรียบเรียงในลักษณะที่เชื่อมโยง และชี้ให้เห็นถึงความก้าวหน้าในความคิดอย่างชัดเจนมากน้อยแค่ไหน 1.8 รายงานได้นำผลสรุปของงานวิจัยและข้อเสนอแนะของการนำผลการวิจัยไปใช้ ทั้งหมด มาเชื่อมโยงกับปัญหาที่จะศึกษามากน้อยแค่ไหน
2 รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิดหรือไม่
2.1 รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติหรือไม่
2.2 รายงานได้เปิดช่องโหว่ให้เห็นถึงกรอบแนวคิดอื่นที่เหมาะสมกว่าหรือไม่
2.3 รายงานได้เชื่อมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมีเหตุมีผลหรือไม่
หลังจากที่ผู้วิจัยได้เขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้ว ควรมีการประเมินงานเขียนเรียบเรียงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ว่ามีความสมบูรณ์ทั้งเนื้อหา ภาษา และความต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน สำหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Polit & Hungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร, 2538 ) ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญไว้ โดยการให้ตอบคำถามต่อไปนี้
1 รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับปัญหาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งศึกษามาก่อนแล้ว หรือไม่
1.1 รายงานนั้นได้เรียบเรียงจากแหล่งเอกสารทุติยภูมิมากเกินไปหรือไม่ ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วควรใช้แหล่งเอกสารปฐมภูมิ (ต้นฉบับ) ให้มากที่สุด
1.2 รายงานได้ครอบคลุมเอกสาร ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาครบหมดหรือไม่
1.3 รายงานได้ครอบคลุมเอกสารใหม่ๆหรือไม่
1.4 รายงานได้เน้นในเรื่องความคิดเห็น หรือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรม มากเกินไป และมีการเน้นผลการวิจัยด้านปฏิบัติจริงๆ น้อยไปหรือไม่
1.5 รายงานได้เรียบเรียงข้อความอย่างต่อเนื่องสมบูรณ์หรือไม่ หรือเป็นเพียงแต่ลอก ข้อความจากเอกสารต้นฉบับมาเรียงต่อกันเท่านั้น
1.6 รายงานนั้นเป็นแต่เพียงสรุปผลการศึกษาที่ทำมาแล้วเท่านั้น หรือเป็นการเขียนใน เชิงวิเคราะห์วิจารณ์ และเปรียบเทียบกับผลงานเด่นๆ ที่ศึกษามาแล้วหรือไม่
1.7 รายงานได้เรียบเรียงในลักษณะที่เชื่อมโยง และชี้ให้เห็นถึงความก้าวหน้าในความคิดอย่างชัดเจนมากน้อยแค่ไหน 1.8 รายงานได้นำผลสรุปของงานวิจัยและข้อเสนอแนะของการนำผลการวิจัยไปใช้ ทั้งหมด มาเชื่อมโยงกับปัญหาที่จะศึกษามากน้อยแค่ไหน
2 รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิดหรือไม่
2.1 รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติหรือไม่
2.2 รายงานได้เปิดช่องโหว่ให้เห็นถึงกรอบแนวคิดอื่นที่เหมาะสมกว่าหรือไม่
2.3 รายงานได้เชื่อมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมีเหตุมีผลหรือไม่
https://sites.google.com/site/businessresearce/kar-wicay-thang-thurkic/kar-kheiyn-xeksar-laea-ngan-wicay-thi-keiywkhxng ได้กล่าวว่าการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องหรือการตรวจเอกสาร (Review of related literature) บางตำราเรียกว่า การทบทวนวรรณกรรม เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทำให้ทราบว่าเรื่องที่จะทำวิจัยนั้นได้มีใครทำวิจัยเรื่องนี้ไว้บ้าง หากมีผู้ทำวิจัยแล้ว ควรพิจารณาเรื่องการใช้ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล การใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้งานวิจัยของผู้วิจัยมีความน่าสนใจ และเลือกตัวแปรในการวิจัยได้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ของบทนี้มีดังต่อไปนี้
1. อธิบายความหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการทบทวนวรรณกรรมได้
2. สามารถบอกแหล่งที่ใช้ในการค้นหาวรรณกรรมได้
3. สามารถสืบค้นวรรณกรรมได้
4. สามารถเขียนรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยได้
การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่เรียกว่าการตรวจเอกสาร(Review of Related Literature) เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทำให้ทราบเรื่องที่ตนกำลังทำวิจัยนั้น ได้มีหลักการและทฤษฎีอะไรบ้างและได้ผลเป็นอย่างไร หากมีผู้ทำวิจัยไว้แล้วจะต้องพิจารณาต่อไปว่ามีการใช้ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และการเก็บข้อมูลอย่างไร การใช้สถิติวิเคราะห์ ข้อมูลและผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นอย่างไร ดังนั้นการศึกษาเอกสารหรือวรรณกรรมนั้นจำเป็นต้องการอ่านเก็บรวบรวมประเด็นแนวคิด ระเบียบวิธีการวิจัยจองผลงานวิจัย หรือเอกสารสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ หรือประเด็นของปัญหาการวิจัย คำว่า “วรรณกรรม”ในที่นี่หมายถึง ผลงานวิจัยและทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จุดประสงค์หลักในการศึกษาผลงานวิจัย คือการศึกษาดูว่าในประเด็นที่ต้องการวิจัยนั้นมีผู้ใดได้ศึกษาหรือเขียนทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้มาแล้วบ้างและได้ค้นพบอะไรหรือได้อธิบายไว้อย่างไร มีตัวแปรอะไรบ้างที่เคยผ่านการศึกษาหรือใช้อธิบายมาบ้างแล้ว ตัวแปรใดบ้างที่สำคัญหรือไม่สำคัญ สมมุติฐานและคำอธิบายต่างๆ ที่ผู้วิจัยในอดีตใช้ในการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและปัญหาที่เกิดขึ้นจากระเบียบวิธีวิจัยและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวัดผลและคำนิยามของตัวแปรต่างๆ ที่ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล และผลที่ได้จากการวิเคราะห์ตลอดจนข้อสรุป การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะของผู้วิจัย และนักทฤษฎีในอดีตเกี่ยวกับประเด็นที่ทำวิจัย
ในการศึกษาผลการวิจัย ผู้ทำวิจัยควรทำการจดบันทึกสิ่งต่างๆ ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมแต่ละชิ้นลงในบัตร เพื่อความสะดวกในการอ้างอิง และนำมาใช้เรียบเรียงในขั้นตอนต่อไป นอกจากเนื้อหาสาระที่ต้องการบันทึกแล้ว ผู้ทำวิจัยควรบันทึกชื่อบทความ ชื่อผู้เขียน ชื่อผลงานวิจัย ชื่อตำรา ชื่อวารสารหรือสิ่งพิมพ์ ตลอดจนเลขที่ของฉบับ ครั้งที่ของการพิมพ์เดือนและปีที่บทความนั้นได้รับการตีพิมพ์ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกแก่การอ้างอิงและการค้นคว้าเพิ่มเติมในภายหลัง เป็นต้น
http://rforvcd.wordpress.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5/ ได้กล่าวว่า บางสถาบันอาจเรียกว่า การทบทวนวรรณกรรม ส่วนนี้เป็นการเขียนถึงสิ่งที่ผู้วิจัยได้มาจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของผู้วิจัย รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการดำเนินการศึกษาร่วมไปกับผู้วิจัยด้วย โดยจัดลำดับหัวข้อหรือเนื้อเรื่องที่เขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแต่ละหัวข้อเนื้อเรื่องก็จัดเรียงตามลำดับเวลาด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นพัฒนาการต่างๆ ที่เกี่ยวกับปัญหา นอกจากนี้ผู้วิจัยควรจะต้องมีการสรุปไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ทั้งส่วนที่สอดคล้องกัน ขัดแย้งกัน และส่วนที่ยังไม่ได้ศึกษาทั้งในแง่ประเด็น เวลา สถานที่ วิธีการศึกษาฯลฯ การเขียนส่วนนี้ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการตั้งสมมติฐานด้วย
หลังจากที่ผู้วิจัยได้เขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้ว ควรมีการประเมินงานเขียนเรียบเรียงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ว่ามีความสมบูรณ์ทั้งเนื้อหา ภาษา และความต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน สำหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Polit & Hungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร, 2538 ) (คณะกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย) ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญไว้ โดยการให้ตอบคำถามต่อไปนี้
1) รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับปัญหาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งศึกษามาก่อนแล้วหรือไม่
2) รายงานนั้นได้เรียบเรียงจากแหล่งเอกสารทุติยภูมิมากเกินไปหรือไม่ ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วควรใช้แหล่งเอกสารปฐมภูมิ (ต้นฉบับ) ให้มากที่สุด
3) รายงานได้ครอบคลุมเอกสาร ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่ศึกษาครบหมดหรือไม่
4) รายงานได้ครอบคลุมเอกสารใหม่ๆหรือไม่
5) รายงานได้เน้นในเรื่องความคิดเห็น หรือการบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมมากเกินไป และมีการเน้นผลการวิจัยด้านปฏิบัติจริงๆ น้อยไปหรือไม่
6) รายงานได้เรียบเรียงข้อความอย่างต่อเนื่องสมบูรณ์หรือไม่ หรือเป็นเพียงแต่ลอกข้อความจากเอกสารต้นฉบับมาเรียงต่อกันเท่านั้น
7) รายงานนั้นเป็นแต่เพียงสรุปผลการศึกษาที่ทำมาแล้วเท่านั้น หรือเป็นการเขียนในเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ และเปรียบเทียบกับผลงานเด่นๆ ที่ศึกษามาแล้วหรือไม่
8) รายงานได้เรียบเรียงในลักษณะที่เชื่อมโยง และชี้ให้เห็นถึงความก้าวหน้าในความคิดอย่างชัดเจนมากน้อยแค่ไหน
9) รายงานได้นำผลสรุปของงานวิจัยและข้อเสนอแนะของการนำผลการวิจัยไปใช้ทั้งหมด มาเชื่อมโยงกับปัญหาที่จะศึกษามากน้อยแค่ไหน
10) รายงานนั้นได้มีการเชื่อมโยงปัญหาที่ศึกษากับกรอบทฤษฎี หรือ กรอบแนวคิดหรือไม่
11) รายงานได้เชื่อมโยงกรอบทฤษฎีกับปัญหาที่ศึกษาอย่างเป็นธรรมชาติหรือไม่
12) รายงานได้เปิดช่องโหว่ให้เห็นถึงกรอบแนวคิดอื่นที่เหมาะสมกว่าหรือไม่
13) รายงานได้เชื่อมโยงอนุมานจากทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดอย่างมีเหตุมีผลหรือไม่
กล่าวโดยสรุป การทบทวนวรรณกรรม ส่วนนี้เป็นการเขียนถึงสิ่งที่ผู้วิจัยได้มาจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ทั้งทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ทฤษฎี หลักการ ข้อเท็จจริงต่างๆ แนวความคิดของผู้เชี่ยวชาญ ตลอดจนผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของผู้วิจัย รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการดำเนินการศึกษาร่วมไปกับผู้วิจัยด้วย โดยจัดลำดับหัวข้อหรือเนื้อเรื่องที่เขียนตามตัวแปรที่ศึกษา และในแต่ละหัวข้อเนื้อเรื่องก็จัดเรียงตามลำดับเวลาด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นพัฒนาการต่างๆ ที่เกี่ยวกับปัญหา นอกจากนี้ผู้วิจัยควรจะต้องมีการสรุปไว้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เห็นความสัมพันธ์ทั้งส่วนที่สอดคล้องกัน ขัดแย้งกัน และส่วนที่ยังไม่ได้ศึกษาทั้งในแง่ประเด็น เวลา สถานที่ วิธีการศึกษาฯลฯ การเขียนส่วนนี้ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการตั้งสมมติฐานด้วย
หลังจากที่ผู้วิจัยได้เขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรมแล้ว ควรมีการประเมินงานเขียนเรียบเรียงนั้นอีกครั้งหนึ่ง ว่ามีความสมบูรณ์ทั้งเนื้อหา ภาษา และความต่อเนื่องมากน้อยแค่ไหน สำหรับการประเมินการเขียนเรียบเรียงการทบทวนวรรณกรรม Polit & Hungler (1983, อ้างใน ธวัชชัย วรพงศธร, 2538 ) ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญไว้
วัตถุประสงค์ของบทนี้มีดังต่อไปนี้
1. อธิบายความหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการทบทวนวรรณกรรมได้
2. สามารถบอกแหล่งที่ใช้ในการค้นหาวรรณกรรมได้
3. สามารถสืบค้นวรรณกรรมได้
4. สามารถเขียนรายงานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยได้
ในการศึกษาผลการวิจัย ผู้ทำวิจัยควรทำการจดบันทึกสิ่งต่างๆ ที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมแต่ละชิ้นลงในบัตร เพื่อความสะดวกในการอ้างอิง และนำมาใช้เรียบเรียงในขั้นตอนต่อไป นอกจากเนื้อหาสาระที่ต้องการบันทึกแล้ว ผู้ทำวิจัยควรบันทึกชื่อบทความ ชื่อผู้เขียน ชื่อผลงานวิจัย ชื่อตำรา ชื่อวารสารหรือสิ่งพิมพ์ ตลอดจนเลขที่ของฉบับ ครั้งที่ของการพิมพ์เดือนและปีที่บทความนั้นได้รับการตีพิมพ์ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกแก่การอ้างอิงและการค้นคว้าเพิ่มเติมในภายหลัง เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921.เข้าถึงเมื่อ 09/01/13
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น